316: หนี้ครัวเรือนของแต่ละประเทศ (% ต่อ จีดีพี)by Dekisugi4 Comments Share Tweet Email 4 thoughts on “316: หนี้ครัวเรือนของแต่ละประเทศ (% ต่อ จีดีพี)” phonvitk November 9, 2013 at 9:55 am Reply พอมาดูแต่ละประเทศ พบว่าไทยยังมีหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีสูงกว่าประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงกว่า เช่น สิงคโปรฺ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และ เยอรมัน. ส่วนประเทศที่รายได้ต่อหัวใกล้ๆกัน ระดับหนี้ต่างกันเกือบเท่าตัว. อย่างนี้พอจะเป็นสัญญาณว่า คนไทยกำลังบริโภคเกินกระเป๋าเงินที่มีใช่ไหมครับ? ยิ่งถ้าไม่สนใจจนระดับหนี้ใกล้ๆ 100% ต่อจีดีพี พี่นรินทร์คิดว่ายังไงครับ? ถ้าเทียบกับตอนต้มยำกุ้ง พวกที่กระทบคือกลุ่มที่กู้หนี้เป็นสกุลต่างชาติ งวดนี้ก็คงเป็นประชาชน ธุรกิจประเภทไหนที่จะกระทบหนักสุดไปหาน้อยสุดหรอครับ? ขอบคุณครับพี่. pituckj November 9, 2013 at 1:30 pm Reply ขอบคุณมากครับ ผมอยากทราบว่าเป็นข้อมูลเมื่อไร? และมีภาพเช่นนี้เปรียบเทียบย้อนหลังหลายปีไหมครับ ดูเฉพาะอันนี้น่ากลัวในความรู้ของผมคือไทยไม่มีนวัตกรรมของตนเองในการสร้างมูลค่าเพิ่ม แล้วสามารถเป็นหนี้สินมากมายได้ยังไง ข้อมูลนี้หาได้ที่ไหนครับ Narin Olankijanan November 9, 2013 at 5:35 pm Reply คิดว่าเรามีหนี้ครัวเรือนสูงครับ แต่ไม่ได้สูงมากขนาดที่คิดว่าจะมีวิกฤตได้ ช่วงที่ผ่านมาหนี้ครัวเรือนเพิ่มมาเร็วมาก เลยอาจเป็นสาเหตุให้กำลังซื้อเต็ม เศรษฐกิจเลยไม่ค่อยดีในเวลานี้ คงต้องรอสักหน่อย เพื่อให้หนี้ลดลงบ้าง แบงก์กล้ากลับมาปล่อยสินเชื่อใหม่ เศรษฐกิจก็ถึงจะไปต่อได้ nut776 November 13, 2013 at 1:08 pm Reply มีเงินออมภาคครัวเรือน ต่อ gpd มาเทียบด้วยไหมคับ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked *Name * Email * Website Comment * Save my name, email, and website in this browser for the next time I comment. Δ
phonvitk November 9, 2013 at 9:55 am Reply พอมาดูแต่ละประเทศ พบว่าไทยยังมีหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีสูงกว่าประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงกว่า เช่น สิงคโปรฺ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และ เยอรมัน. ส่วนประเทศที่รายได้ต่อหัวใกล้ๆกัน ระดับหนี้ต่างกันเกือบเท่าตัว. อย่างนี้พอจะเป็นสัญญาณว่า คนไทยกำลังบริโภคเกินกระเป๋าเงินที่มีใช่ไหมครับ? ยิ่งถ้าไม่สนใจจนระดับหนี้ใกล้ๆ 100% ต่อจีดีพี พี่นรินทร์คิดว่ายังไงครับ? ถ้าเทียบกับตอนต้มยำกุ้ง พวกที่กระทบคือกลุ่มที่กู้หนี้เป็นสกุลต่างชาติ งวดนี้ก็คงเป็นประชาชน ธุรกิจประเภทไหนที่จะกระทบหนักสุดไปหาน้อยสุดหรอครับ? ขอบคุณครับพี่.
pituckj November 9, 2013 at 1:30 pm Reply ขอบคุณมากครับ ผมอยากทราบว่าเป็นข้อมูลเมื่อไร? และมีภาพเช่นนี้เปรียบเทียบย้อนหลังหลายปีไหมครับ ดูเฉพาะอันนี้น่ากลัวในความรู้ของผมคือไทยไม่มีนวัตกรรมของตนเองในการสร้างมูลค่าเพิ่ม แล้วสามารถเป็นหนี้สินมากมายได้ยังไง ข้อมูลนี้หาได้ที่ไหนครับ
Narin Olankijanan November 9, 2013 at 5:35 pm Reply คิดว่าเรามีหนี้ครัวเรือนสูงครับ แต่ไม่ได้สูงมากขนาดที่คิดว่าจะมีวิกฤตได้ ช่วงที่ผ่านมาหนี้ครัวเรือนเพิ่มมาเร็วมาก เลยอาจเป็นสาเหตุให้กำลังซื้อเต็ม เศรษฐกิจเลยไม่ค่อยดีในเวลานี้ คงต้องรอสักหน่อย เพื่อให้หนี้ลดลงบ้าง แบงก์กล้ากลับมาปล่อยสินเชื่อใหม่ เศรษฐกิจก็ถึงจะไปต่อได้
พอมาดูแต่ละประเทศ พบว่าไทยยังมีหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีสูงกว่าประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงกว่า เช่น สิงคโปรฺ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และ เยอรมัน. ส่วนประเทศที่รายได้ต่อหัวใกล้ๆกัน ระดับหนี้ต่างกันเกือบเท่าตัว.
อย่างนี้พอจะเป็นสัญญาณว่า คนไทยกำลังบริโภคเกินกระเป๋าเงินที่มีใช่ไหมครับ?
ยิ่งถ้าไม่สนใจจนระดับหนี้ใกล้ๆ 100% ต่อจีดีพี พี่นรินทร์คิดว่ายังไงครับ?
ถ้าเทียบกับตอนต้มยำกุ้ง พวกที่กระทบคือกลุ่มที่กู้หนี้เป็นสกุลต่างชาติ งวดนี้ก็คงเป็นประชาชน ธุรกิจประเภทไหนที่จะกระทบหนักสุดไปหาน้อยสุดหรอครับ?
ขอบคุณครับพี่.
ขอบคุณมากครับ ผมอยากทราบว่าเป็นข้อมูลเมื่อไร? และมีภาพเช่นนี้เปรียบเทียบย้อนหลังหลายปีไหมครับ ดูเฉพาะอันนี้น่ากลัวในความรู้ของผมคือไทยไม่มีนวัตกรรมของตนเองในการสร้างมูลค่าเพิ่ม แล้วสามารถเป็นหนี้สินมากมายได้ยังไง ข้อมูลนี้หาได้ที่ไหนครับ
คิดว่าเรามีหนี้ครัวเรือนสูงครับ แต่ไม่ได้สูงมากขนาดที่คิดว่าจะมีวิกฤตได้
ช่วงที่ผ่านมาหนี้ครัวเรือนเพิ่มมาเร็วมาก เลยอาจเป็นสาเหตุให้กำลังซื้อเต็ม เศรษฐกิจเลยไม่ค่อยดีในเวลานี้ คงต้องรอสักหน่อย เพื่อให้หนี้ลดลงบ้าง แบงก์กล้ากลับมาปล่อยสินเชื่อใหม่ เศรษฐกิจก็ถึงจะไปต่อได้
มีเงินออมภาคครัวเรือน ต่อ gpd มาเทียบด้วยไหมคับ