258: ตอนที่ 10: ratio analysis
เมื่ออ่านงบการเงินเป็นแล้ว สิ่งต่อไปที่นักลงทุนอาจจะลองทำดูก็คือ การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินต่างๆ (ratio analysis) โดย Read More »258: ตอนที่ 10: ratio analysis
เมื่ออ่านงบการเงินเป็นแล้ว สิ่งต่อไปที่นักลงทุนอาจจะลองทำดูก็คือ การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินต่างๆ (ratio analysis) โดย Read More »258: ตอนที่ 10: ratio analysis
งบกระแสเงินสด ที่จริงแล้วก็คล้ายกับงบกำไรขาดทุนของบริษัทนั้นแหละ แต่แทนที่จะใช้เกณฑ์คงค้าง (accrued basis) ตามหลักบัญชี กล่าวคือ มีการทยอยตัดจ่ายค่าใข้จ่ายให้ตรงกับรายได้ที่เข้ามาด้วย Read More »256: ตอนที่ 9: งบกระแสเงินสด
งบกำไรขาดทุน น่าจะเป็นงบการเงินที่คนทั่วไปเข้าใจง่ายที่สุด เพราะเป็นไปตามสมการ รายได้ – ค่าใข้จ่าย = กำไร เขียนเรียงลำดับให้ดูทีละรายการ Read More »253: ตอนที่ 8: งบกำไรขาดทุน
สมัยนี้ไม่ค่อยมีใครปล่อยเงินสดที่มีอยู่ไว้เฉยๆ มิให้ทำงาน บริษัทก็เช่นเดียวกัน ถ้ามีเงินค้างอยู่ในบริษัทเกินความต้องการใช้ของกิจการประจำวัน สำหรับบริษัทใหญ่แล้ว การทิ้งเงินเหล่านั้นไว้ในบัญชีกระแสรายวันเฉยๆ อาจคิดเป็นดอกเบี้ยที่หายไปจำนวนมหาศาลต่อวันเลยทีเดียว ดังนั้น Read More »250: ตอนที่ 7: เงินลงทุน
ส่วนของเจ้าของ หรือส่วนทุน เป็นเสมือนส่วนที่เหลือเป็นของผู้ถือหุ้นจริงๆ เพราะคือสินทรัพย์ของบริษัททั้งหมดที่หักด้วยหนี้ของบริษัทแล้ว ข้างในส่วนของเจ้าของมี item หลักๆ ที่เราควรทำความรู้จักไว้ดังนี้ Read More »243: ตอนที่ 6: ส่วนของเจ้าของ
หนี้สินในงบดุลของบริษัทก็แบ่งออกเป็น หนี้สินหมุนเวียน (กำหนดครบชำระไม่เกินหนึ่งปีข้างหน้า) และ หนี้สินไม่หมุนเวียน (เกินหนึ่งปี) เพื่อให้นักลงทุนเห็นชัดเจนว่า Read More »239: ตอนที่ 5: หนี้สินของบริษัท
สินทรัพย์ถาวร หรือเรียกว่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ในงบดุล ที่พื้นฐานที่สุดของบริษัทคงหนีไม่พ้น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ใช้ประกอบธุรกิจทั่วไป
ตามมาตรฐานบัญชีเก่าจะกำหนดให้บริษัทบันทึกมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรเหล่านี้ Read More »230: ตอนที่ 4: สินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคา